สรุปวิจัยคณิตศาสตร์
เรื่อง การพัฒนาเกมการศึกษาเพื่อเตรียมความพร้อมทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
โดย
นางนิธิกานต์ ขวัญบุญ
💖💖 คลิ๊กเพื่อดูวิจัย 💖💖
วัตถุประสงค์ในการวิจัย
1.เพื่อศึกษาข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาเกมการศึกษาเพื่อเตรียมความพร้อมทางคณิตศาสตร์เรื่องการแทนค่าจำนวนนับ 1-10 สำหรับเด็กปฐมวัย (อนุบาลปีที่ 3)
2.เพื่อพัฒนาและหาประสิทธิภาพของเกมการศึกษาเพื่อเตรียมความพร้อมทางคณิตศาสตร์ เรื่องการแทนค่าจำนวนนับ 1-10 สำหรับเด็กปฐมวัย (อนุบาลปีที่ 3) ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80
3.เพื่อทดลองใช้เกมการศึกษาเพื่อเตรียมความพร้อมทางคณิตศาสตร์เรื่องการแทนค่าจำนวนนับ 1-10 สำหรับเด็กปฐมวัย (อนุบาลปีที่ 3)
4.เพื่อประเมินและปรับปรุงเกมการศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการจัดประสบการณ์ด้วยเกมการศึกษาเรื่องการแทนค่าจำนวนนับ 1-10 สำหรับเด็กปฐมวัย (อนุบาลปีที่ 3)
ขอบเขตการวิจัย
ประชากร ประชากรที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ นักเรียนชั้นอนุบาลปี่ที่ 3/1 , 3/2 , 3/3 , 3/4 มีจำนวน 4 ห้อง รวมทั้งหมด 110 คน กำลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2548 โรงเรียนเทศบาลวัดดอนไก่ดี สังดัดเมืองเทศบาลกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร
กลุ่มตัวอย่าง ที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นนักเรียนชั้นอนุบาลปี่ที่ 3/2 ที่กำลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2548 จำนวน 1 ห้องเรียน รวมนักเรียน 25 คน ได้มาจากการสุ่มห้องเรียนด้วยวิธีการสุ่มอย่างง่าย
ตัวแปรที่ศึกษา
ตัวแปรต้น คือ เกมการศึกษา
ตัวแปรตาม ได้แก่ ความพร้อมทางคณิตศาสตร์เรื่องการแทนค่าจำนวน 1-10 และความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อเกมการศึกษา
ระยะเวลา
ผู้วิจัยได้กำหนดระยะวลาที่ใช้ในการกคลองใช้เกมการศึกษา เพื่อเตรียมความพร้อมทางคณิตศาสตร์ เรื่องการแทนค่าจำนวนนับ 1 - 10 สำหรับเด็กปฐมวัย (อนุบาลปีที่ 3) ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2548 เป็นวลา 3 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 8 คาบ คาบละ 15 นาที จำนวน 24 คาบ
สุปผลการวิจัย
1. ผลการศึกษขอมูลพื้นฐาน พบว่า นักเรียนและทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องด้องการให้มีการพัฒนาเกมการศึกษา โดยให้มีรูปแบบที่เหมาะสม วิธีการเด่นให้มีหลากหลายวิธี เวลาในการปฏิบัติกิกรรม ที่นำมาพัฒนาคมการศึกษาและเกมการศึกษายังสอดกล้องกับหน่วยการเรียนการสอนหลักสูตร โดยเรียนรู้จกการปฏิบัติ โดยเรื่องที่นำมาพัฒนาเกมการศึกษามีเนื้อหาจากกวามต้องการและความสนใจของนักเรียนเป็นสำคัญ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียนโดยยึดนักเรียนเป็นสำคัญและความแตกต่างระหว่างบุคกล
2. ผลการพัฒนและหาก่าประสิทธิภาพกมการศึกบาเรื่องการแทนก่าจำนวนนับ 1-10สำหรับด็กปฐมวัย ( อนุมาลปีที่3) พบว่า กมการศึกษาที่พัฒนาขึ้นประกอบด้วย คำนำวัตถุประสงค์ มือกรู (แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน ),คู่มื่อนักเรียน ( แบบทดสอบหลังรียน ) โดยเกมการศึกษาที่พัฒนาขึ้นมีจำนวน 6 เกม คือ เกมที่ 1เกมใจเราตรงกัน จำนวน 1- 5 ) เกมที่ 2 เกมเรียงต่อแสนสนุก ( จำนวน 1- 5 ) เกมที่ 3 เกมรักกันนะ ( จำนวน 1 -5) เกมที่ 4 เกมพาเหรดตัวเลข ( จำนวน 1 - 10) เกมที่ ร เกมทะเลพาเพลิน( จำนวน 1 - 10) เกมที่ 6 เกมของใช้อลวง ( จำนวน 1 - 10) ซึ่งคมการศึกษามีกาประสิทธิภาพรายเดี่ยว (Individual Tryou) เท่กับ 67.77 / 70.00 ก่ประสิทธิภาพแบบกลุ่มเล็ก ( Small Group
Tryout ) เท่กับ 71.11 / 75.55 และเกมการศึกษามีกาประสิทธิภาพแบบภาคสนาม(Field Tryout )
82.73/85.60 ซึ่งสอดกล้องกับสมมติฐานการวิจัยข้อที่ 1
3. ผลการทดลองใช้เกมการศึกษารื่องการแทนกำจำนวน 1-10 สำหรับเค็กปฐมวัย( อนุบาลปีที่ 3 ) ซึ่งผู้วิยป็นผู้ทดลองจัดประสบการณ์โคยใช้เกมการศึกษา ประกอบการสอนด้วยตนเองกับนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 3/2 โรงเรียนเทศบาลวัดคอนไก่ดีอำเภอกระทุ่มแบนจังหวัดสมุทรสาคร จำนวน 25 คน ในภาคเรียนที่ ปีการศึกษา 2548 เริ่มการทดลองตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2548 ถึงวันที่ 18 พฤศจิกายน 2548 รวมเวลา 3 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 8 คาบรวม 24 กาบ( กาบละ 15 นาที่ ) พบว่านักรียนส่วนใหญ่ให้ความสนใจ กระตือรือรั้น ต้องการเรียนเกมการศึกษที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น โดยให้กวามร่วมมือและตั้งใจปฏิบัติกิจกรรม ทั้งในห้องเรียนนอกห้องเรียนซึ่งมีทั้งปฏิบัติกิจกรรมเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่มอย่างดี
4.ผลการประเมินและปรับปรุงแก้ไขเกมการศึกบาพบว่าคะแนนความพร้อมทางคณิตศาสตร์ที่เรียนด้วยกมการศึกษา เรื่องการแทนค่าจำนวนนับ ชั้นอนุบาลปีที่ 3 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และความคิดเห็นของนักรียนที่มีต่อเกมการศึกษาด้านการจัดประสบการณ์ โดยเกมการศึกษาประโยชน์โดยภาพรวมเห็นด้วยในระดับมาก เมื่อพิจารณาป็นรายด้าน พบว่า ทุกด้านนักรียนเห็นด้วยในระดับมากเช่นเดียวกัน กล่าวคือนักเรียนมีความคิดห็นว่าเกมการศึกษามีรูปแบบที่น่าสนใจช่วยกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น